โครงการย่อยในการปิดช่องว่าง (Gap Closing) 4 อุตสาหกรรมเป้าหมาย

จังหวัดเชียงใหม่

อุตสาหกรรมสร้างสรรค์

โครงการที่ 1: Creative Craft Co-Working Space (CM-C-1)

โครงการเพื่อการต่อยอดต้นทุนหรือมรดกศิลปะสร้างสรรค์ที่มีอยู่ในพื้นที่ให้มีมูลค่าและคุณค่าเพิ่มมากขึ้น ผ่านการสร้างพื้นที่เพื่อการเรียนรู้ด้านการสร้างสรรค์ทางศิลปะแขนงต่าง ๆ เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ใหม่ ๆ สร้างเครือข่ายและกลไกในการทำงานสร้างสรรค์ มุ่งเน้นการรักษามรดกเชิงพื้นที่ ด้วยการต่อยอดวัฒนธรรมที่มีอยู่ในพื้นที่

งบประมาณ 800 ล้านบาท     ระยะเวลา 3 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย C1.1-1.3, C3.1-3.5

ผลลัพธ์

  1. มีศูนย์ฝึกอบรมที่มีหลักสูตรสร้างสรรค์ต่าง ๆ
  2. พัฒนานักออกแบบและสร้างสรรค์อย่างต่อเนื่อง
  3. เกิดผลงานสร้างสรรค์ในงานสร้างสรรค์แขนงต่าง ๆ
  4. ศิลปวัฒนธรรมสร้างสรรค์ได้รับการต่อยอดและสร้างมูลค่าเพิ่ม

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด   

  1. สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย
  2. 2. สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
  3. 3. สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน)
  4. 4. กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
  5. 5. สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม่

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงวัฒนธรรม
  2. 2. กระทรวงแรงงาน

 

โครงการที่ 2: World Craft Expo (UNESCO) (CM-C-2)

โครงการจัดงานหัตถกรรมโลกเพื่อเป็นเวทีแสดงศักยภาพด้านศิลปหัตถกรรมสร้างสรรค์ สำหรับนำเสนอนวัตกรรม  และความเจริญก้าวหน้าทางศิลปะหัตถกรรมจากนานาประเทศ ให้สาธารณชนได้มาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เรียนรู้งานหัตถกรรม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ตลอดจนภูมิปัญญา มรดกวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก

งบประมาณ 1,000 ล้านบาท     ระยะเวลา 1 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย C2.5-2.7

ผลลัพธ์ 

  1. สร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจผ่านนักท่องเที่ยวที่เข้ามาท่องเที่ยวในแต่ละเทศกาลใช้เวลายาวนานและมีจำนวนเพิ่มขึ้น
  2. ส่งเสริมความเข้าใจและความชื่นชมในวัฒนธรรมให้สาธารณชน
  3. เกิดความร่วมมือกันระหว่างประเทศในการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม

 หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย
  2. 2. สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
  3. 3. สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน)
  4. 4. กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
  5. 5. องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่
  6. 6. TCDC Chiang Mai “ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ เชียงใหม่”
  7. 7. สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน)

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงวัฒนธรรม
  2. 2. กระทรวงแรงงาน
  3. 3. กระทรวงมหาดไทย

 

โครงการที่ 3: Chiang Mai Movies Town (CM-C-3)

พัฒนาจังหวัดเชียงใหม่สู่การศูนย์กลางในการสร้างและแลกเปลี่ยนด้านภาพยนตร์ ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์ โดยนำต้นทุนทางวัฒนธรรมมาช่วยเพิ่มมูลค่าและพัฒนาความสามารถในการแข่งขัน ตามนโยบายรัฐบาลที่มุ่งผลักดันการใช้ ”Soft Power” ความเป็นไทยและอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ของไทยให้เป็นที่รู้จักทั้งในและต่างประเทศ

งบประมาณ 100 ล้านบาท     ระยะเวลา 3-5 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย C1.3, C2.7

ผลลัพธ์

  1. 1. เกิดการสร้างสรรค์พื้นที่และต่อยอดวัฒนธรรมให้เป็นที่รู้จักของโลก
  2. 2. เกิดการจ้างงานโดยตรงจากการพัฒนาธุรกิจภาพยนตร์
  3. 3. เพิ่มมูลค่าด้านการท่องเที่ยว และขยายตลาดนักท่องเที่ยวมากขึ้น

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดเชียงใหม่
  2. 2. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักงานเชียงใหม่
  3. 3. สมาพันธ์เอสเอ็มอีไทยจังหวัดเชียงใหม่
  4. 4. สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน)

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
  2. 2. กระทรวงวัฒนธรรม
  3. 3. องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่

อุตสาหกรรมดิจิทัล

โครงการที่ 1: Chiang Mai Tourism Platform (CM-D-1)

นําเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ในภาคท่องเที่ยวและบริการสู่การเป็น “เมืองท่องเที่ยวอัจฉริยะ” เพิ่มมูลค่าเชื่อมโยงธรรมชาติ วัฒนธรรม สุขภาพ และเศรษฐกิจท้องถิ่น จัดทำ Chiang Mai Tourism Platform เพื่อสร้างประสบการณ์การท่องเที่ยวดิจิทัลให้กับนักท่องเที่ยว สนับสนุนการเป็นเมืองต้นแบบการให้บริการด้านการท่องเที่ยวอัจฉริยะ

งบประมาณ 100 ล้านบาท     ระยะเวลา 3-5 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย D3

ผลลัพธ์

  1. มี Chiang Mai Tourism Platform ที่สามารถเป็นเมืองต้นแบบการให้บริการด้านการท่องเที่ยวอัจฉริยะ
  2. นักท่องเที่ยวสามารถเข้าถึงข้อมูลและสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยวใน Chiang Mai Tourism Platform ได้ตรงกับความต้องการ เช่น ที่พัก ร้านอาหาร เที่ยวบิน การเดินทาง เช่ารถ แหล่งท่องเที่ยว ฯลฯ
  3. เกิดมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจของจังหวัดผ่านการท่องเที่ยว

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สมาคมธุรกิจท่องเที่ยวเชียงใหม่
  2. 2. สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจังหวัดเชียงใหม่
  3. 3. หอการค้าจังหวัดเชียงใหม่
  4. 4. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม่
  5. 5. สำนักงานขนส่งจังหวัดเชียงใหม่
  6. 6. สหกรณ์นครลานนาเดินรถ จังหวัดเชียงใหม่

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
  2. 2. กระทรวงวัฒนธรรม
  3. 3. กระทรวงคมนาคม

 

โครงการที่ 2: Chiang Mai Digital Learning Institute (CM-D-2)

จัดตั้ง Chiang Mai Digital Learning Institute เพื่อทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางงานวิจัยและนวัตกรรมดิจิทัล เป็นศูนย์กลางด้านระบบข้อมูลเมือง (City Data) และการพัฒนาเนื้อหาดิจิทัล (Digital Content) ด้วยการนําเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาประยุกต์ใช้ เป็นศูนย์กลางการพัฒนากำลังคนด้านดิจิทัล และสร้างระบบนิเวศดิจิทัลสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะ

งบประมาณ 500-1,000 ล้านบาท     ระยะเวลา 3-5 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย D4.1-4.2

ผลลัพธ์ 

  1. เกิดโปรแกรมเฉพาะทางในการฝึกอบรมความรู้ด้านดิจิทัล
  2. มีการประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดค่ายฝึกอบรมด้านดิจิทัล
  3. 3. การพัฒนาความปลอดภัยทางไซเบอร์ (Cyber security) เทคโนโลยีอุบัติใหม่ (Emerging Technology) วิทยาการข้อมูล (Data science)
  4. 4. มีหลักสูตรการเขียนโปรแกรม (Coding) ที่หลากหลาย
  5. 5. การพัฒนาด้าน Digital marketing

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
  2. 2. อุทยานวิทยศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยลัยเชียงใหม่
  3. 3. สำนักงานอุตสาหกรรมเชียงใหม่
  4. 4. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม่
  5. 5. หอการค้าจังหวัดเชียงใหม่
  6. 6. สำนักงานเชียงใหม่

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
  2. 2. กระทรวงอุตสาหกรรม
  3. 3. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

 

โครงการที่ 3: Chiang Mai Digital Working Space (CM-D-3)

จัดตั้ง Digital Working Space รวมทั้งการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านดิจิทัลที่เพียงพอ เพื่อเป็นพื้นที่การทำงาน พบปะ พูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือเจรจาทางธุรกิจและการผลิตสื่อสร้างสรรค์ เป็นพื้นที่จัดกิจกรรม Workshop หรือแสดงผลงานจนเกิดเป็นชุมชนคนดิจิทัล (Digital Community)

งบประมาณ 500 ล้านบาท     ระยะเวลา 3-5 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย D1

ผลลัพธ์ 

  1. เกิดพื้นที่การทำงาน พื้นที่พบปะ พูดคุย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
  2. เกิดพื้นที่เจรจาทางธุรกิจดิจิทัลและการผลิตสื่อสร้างสรรค์
  3. มีพื้นที่จัดแสดงผลงาน การจัดกิจกรรม Workshop ของธุรกิจดิจิทัล
  4. เกิดชุมชนคนดิจิทัล (Digital Community)

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
  2. 2. อุทยานวิทยศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยลัยเชียงใหม่
  3. 3. สำนักงานอุตสาหกรรมเชียงใหม่
  4. 4. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม่
  5. 5. หอการค้าจังหวัดเชียงใหม่
  6. 6. สำนักงานเชียงใหม่

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
  2. 2. กระทรวงอุตสาหกรรม
  3. 3. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

อุตสาหกรรมท่องเที่ยวและท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

โครงการที่ 1: Chiang Mai Wellness City (CM-T-1)

พัฒนาจังหวัดเชียงใหม่ให้เป็นศูนย์กลางด้านการดูแลสุขภาพและการพักฟื้นระดับโลก ยกระดับอุตสาหกรรมการผลิตอื่นๆ เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมด้านการแพทย์และการท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะ ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมการแพทย์ร่วมกับการท่องเที่ยว สนับสนุนความพร้อมในด้านการวิจัยและบริการวิชาการ ยาและสมุนไพร และความพร้อมในการดูแลสุขภาพ

งบประมาณ 500 ล้านบาท     ระยะเวลา 3-5 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย T1.1-1.3

ผลลัพธ์ 

  1. เป็นต้นแบบ Wellness City ในระดับ International
  2. เกิดศูนย์บ่มเพาะด้าน Wellness
  3. มีหน่วยงานกลางเพื่อประสานความร่วมมือ และเครือข่ายกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในอุตสาหกรรมบริการสุขภาพ (Medical hub & wellness city)

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สถาบันพัฒนาทรัพยากรมนุษย์สำหรับอุตสาหกรรมบริการสุขภาพ, เชียงใหม่
  2. 2. กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
  3. 3. สมาคมแพทย์แผนไทยเชียงใหม่
  4. 4. อุทยานวิทยศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยลัยเชียงใหม่
  5. 5. สำนักงานสาธารณสุข
  6. 6. ศูนย์พฤฒพลัง
  7. 7. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม่
  8. 8. หอการค้าจังหวัดเชียงใหม่
  9. 9. สำนักงานทะเบียนธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์
  10. 10. สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงใหม่

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงแรงงาน
  2. 2. กระทรวงสาธารณสุข
  3. 3. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

 

โครงการที่ 2: เชียงใหม่ 12 เดือน 12 เทศกาล (CM-T-2)

ยกระดับเทศกาลหลักให้ได้มาตรฐานสากล เป็นกลไกบูรณาการทั้งในด้านการบริหารจัดการ  สิ่งแวดล้อม การขนส่ง และความปลอดภัย วางตำแหน่งทางการตลาดใหม่ให้การท่องเที่ยวเชียงใหม่ผ่านการนำเสนอ “เชียงใหม่ 12 เดือน 12 เทศกาล” เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวคุณภาพที่สนใจวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม เตรียมแผนพัฒนาเมืองท่องเที่ยวยั่งยืนในระยะยาว

งบประมาณ 100 ล้านบาท    ระยะเวลา 5 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย T2.1-2.6

ผลลัพธ์

  1. มีการจัดงานเทศกาลที่มีมาตรฐานตามแผน 12 เดือน 12 เทศกาล
  2. แผนพัฒนาเมืองท่องเที่ยวเชียงใหม่ด้วยเทศกาล
  3. เกิดมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจผ่านการท่องเที่ยว

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สมาคมธุรกิจท่องเที่ยวเชียงใหม่
  2. 2. สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจังหวัดเชียงใหม่
  3. 3. หอการค้าจังหวัดเชียงใหม่
  4. 4. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม่
  5. 5. สำนักงานขนส่งจังหวัดเชียงใหม่
  6. 6. สหกรณ์นครลานนาเดินรถ จังหวัดเชียงใหม่
  7. 7. สำนักงานเชียงใหม่

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงคมนาคม
  2. 2. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
  3. 3. กระทรวงวัฒนธรรม

 

โครงการที่ 3 Chiang Mai MICE City (CM-T-3)

พัฒนาเพื่อยกระดับจังหวัดเชียงใหม่ให้เป็นจุดหมายการท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ MICE สร้างเครือข่ายความร่วมมือผู้จัดกิจกรรมภาคต่าง ๆ พัฒนาศูนย์การประชุมของจังหวัดเชียงใหม่ให้ทันสมัย ประชาสัมพันธ์ Chiang Mai MICE City ให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น สนับสนุนการจัดงานประชุมที่มีศักยภาพส่งเสริมให้เชียงใหม่เป็น MICE City

งบประมาณ 100 ล้านบาท     ระยะเวลา 5 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย T4.1-4.2

ผลลัพธ์

  1. เกิดเครือข่าย Chiang Mai MICE City
  2. สามารถบริหารจัดการการใช้พื้นที่ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติเชียงใหม่ให้มีประสิทธิภาพ
  3. เกิด Modern MICE venue หรือสถานที่จัดงานสมัยใหม่
  4. มีงานด้าน MICE ที่มีศักยภาพระดับสูงมาจัดที่เชียงใหม่

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานจังหวัดเชียงใหม่
  2. 2. หอการค้าจังหวัดเชียงใหม่
  3. 3. สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่
  4. 4. สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
  5. 5. อุทยานวิทยศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยลัยเชียงใหม่
  6. 6. สำนักประชาสัมพันธ์ เชียงใหม่

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
  2. 2. กรมประชาสัมพันธ์
  3. 3. กระทรวงมหาดไทย

อุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร

โครงการที่ 1: ตลาดกลางเกษตรภาคเหนือ (CM-A-1)

จัดตั้งตลาดกลางเกษตรภาคเหนือเพื่อเป็นสถานที่ซื้อขายสินค้าเกษตรที่มีผู้ซื้อและผู้ขายเข้ามาทำการซื้อขายโดยตรง ด้วยวิธีการตกลงราคาอย่างเปิดเผย ภายใต้ราคาที่เป็นธรรมด้วยการบริการและสิ่งอำนวยความสะดวก ช่วยให้มีสถานที่รองรับผลิตผลทางการเกษตรที่ได้มาตรฐานทั้งด้านคุณภาพและราคา รวมบริการด้านข้อมูลข่าวสารทางการตลาดประกอบการซื้อขาย

งบประมาณ 500 ล้านบาท     ระยะเวลา 5 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย A2.1, A3.3

ผลลัพธ์

  1. รายได้ทางการเกษตรเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5 ต่อปี
  2. ลดการสูญเสียของผลผลิตทางการเกษตร
  3. ลดต้นทุนทางด้านเวลาของผู้ประกอบการที่ต้องใช้สินค้าเกษตรเป็นผลิตภัณฑ์ขั้นต้น
  4. เป็นแหล่งข้อมูลในการวางแผนเพาะปลูกของเกษตรกร

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่
  2. 2. สำนักงานพาณิชย์ จังหวัดเชียงใหม่
  3. 3. สภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่
  4. 4. หอการค้าจังหวัดเชียงใหม่
  5. 5. สำนักงานเกษตรและสหกรณ์
  6. 6. อุทยานวิทยศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยลัยเชียงใหม่

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  2. 2. กระทรวงพาณิชย์

 

โครงการที่ 2: เกษตรอัจฉริยะ Smart Farming (CM-A-2)

ส่งเสริมการเปลี่ยนแปลงจากการเกษตรแบบดั้งเดิมไปสู่เกษตรอัจฉริยะ โดยนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเพิ่มผลผลิต เน้นการบริหารจัดการผสมผสานเทคโนโลยี พัฒนาภาคการเกษตรให้ยั่งยืน สนับสนุนการนำเทคโนโลยีสารสนเทศไปประยุกต์ใช้ เพื่อให้มีการจัดการและส่งผ่านความรู้สู่การปฏิบัติ เพื่อเพิ่มคุณภาพมาตรฐานการผลิตลดความเสี่ยงในภาคเกษตร

งบประมาณ 500 ล้านบาท     ระยะเวลา 5 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย A3.1, A2.5, A3.3

ผลลัพธ์ 

  1. 1. สามารถลดต้นทุนในการผลิตสินค้าเกษตร รวมทั้งเพิ่มคุณภาพสินค้าเกษตรได้
  2. 2. สามารถเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกร
  3. 3. เป็นแหล่งเรียนรู้ในกับสถาบันการศึกษา หน่วยงานภาครัฐและองค์กรต่าง ๆ ที่สนใจ

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานจังหวัดเชียงใหม่
  2. 2. สำนักงานพาณิชย์ จังหวัดเชียงใหม่
  3. 3. สภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่
  4. 4. หอการค้าจังหวัดเชียงใหม่
  5. 5. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.)
  6. 6. สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่
  7. 7. สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจังหวัดเชียงใหม่
  8. 8. อุทยานวิทยศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยลัยเชียงใหม่

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ     

  1. 1. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  2. 2. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
  3. 3. กระทรวงพาณิชย์

 

โครงการที่ 3: ศูนย์วิจัยนวัตกรรม Super Food (CM-A-3)

ก่อตั้งศูนย์วิจัยนวัตกรรม Super Food เพื่อเป็นศูนย์กลางคิดค้นการวิจัย นวัตกรรมต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบการและเกษตรกร เป็นแหล่งความรู้ทางด้านเกษตรและสินค้าที่เกี่ยวข้อง ที่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลนวัตกรรมการเกษตร พัฒนาความรู้และเทคโนโลยี สนับสนุนการรับรองมาตรฐานสินค้าในภาคเหนือ ช่วยขับเคลื่อนการเกษตรในภูมิภาค

งบประมาณ 500 ล้านบาท     ระยะเวลา 5 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย A2.6, A4.1-4.2

ผลลัพธ์ 

  1. สามารถลดต้นทุนในการนำความรู้ นวัตกรรมต่าง ๆ มาใช้ในเชิงพาณิชย์
  2. เป็นแหล่งเรียนรู้ในกับสถาบันการศึกษา หน่วยงานภาครัฐและองค์กรต่าง ๆ ที่สนใจ

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานจังหวัดเชียงใหม่
  2. 2. สำนักงานพาณิชย์ จังหวัดเชียงใหม่
  3. 3. สภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่
  4. 4. หอการค้าจังหวัดเชียงใหม่
  5. 5. สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่
  6. 6. สำนักงานอุตสาหกรรมเชียงใหม่
  7. 7. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม่
  8. 8. อุทยานวิทยศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยลัยเชียงใหม่

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ     

  1. 1. กระทรวงอุตสาหกรรม
  2. 2. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  3. 3. กระทรวงพาณิชย์

จังหวัดลำพูน

อุตสาหกรรมสร้างสรรค์

โครงการที่ 1: ยกระดับผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ด้วยนวัตกรรม (LPN-C-1)

โครงการสร้างมูลค่าเพิ่มจากทุนทางสังคมวัฒนธรรมศักยภาพเดิมของจังหวัด และสร้างผลิตภัณฑ์รูปแบบใหม่เน้นการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาอย่างบูรณาการตลอดห่วงโซ่คุณค่า ส่งเสริมการลงทุนวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่เหมาะสม และส่งเสริมการใช้ประโยชน์ทรัพย์สินทางปัญญา ตลอดจนการส่งเสริมการค้า

งบประมาณ 30 ล้านบาท     ระยะเวลา 3 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย C2.3/ C2.5/ C3.1/ C3.2

ผลลัพธ์

ผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ได้รับการเพิ่มมูลค่า เน้นการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างบูรณาการตลอดทั้งห่วงโซ่คุณค่า

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานพาณิชย์จังหวัดลำพูน
  2. 2. สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดลำพูน
  3. 3. หอการค้าจังหวัดลำพูน
  4. 4. สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
  5. 5. สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงานลำพูน
  6. 6. สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดลำพูน
  7. 7. สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดลำพูน

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงพาณิชย์
  2. 2. กระทรวงแรงงาน
  3. 3. กระทรวงอุตสาหกรรม
  4. 4. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

 

โครงการที่ 2: ลำพูน: เมืองแห่งเทศกาล (LPN-C-2)

โครงการเพื่อส่งเสริมศักยภาพของจังหวัดผ่านการเป็นเมืองแห่งเทศกาล จัดทำปฏิทินเทศกาล ส่งเสริมการจัดเทศกาลประจำเมืองและกิจกรรมในตัวเมือง สร้างความร่วมมือระหว่างอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ในภาคการท่องเที่ยวและกระจายรายได้สู่ชุมชนท้องถิ่น พร้อมกับผลักดันการสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศในการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม

งบประมาณ 30 ล้านบาท     ระยะเวลา 3 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย C1.1/ C2.1/ C2.2/ C2.3/ C2.4/ C2.5/ C2.6

ผลลัพธ์

ลำพูนกลายเป็นเมืองที่มีสถานที่ทางวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะที่ผ่านการเป็นเมืองเทศกาล มีพื้นที่สร้างสรรค์ในการแสดงศักยภาพทางทุนวัฒนธรรมของจังหวัด เกิดความร่วมมือระหว่างชุมชนและภาคอุตสาหกรรมสร้างสรรค์

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด    

  1. 1. สำนักงานจังหวัดลำพูน
  2. 2. สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดลำพูน
  3. 3. สำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดลำพูน
  4. 4. สำนักงานพาณิชย์จังหวัดลำพูน
  5. 5. สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดลำพูน
  6. 6. อุทยานวิทยศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยลัยเชียงใหม่
  7. 7. สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำพูน

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงพาณิชย์
  2. 2. กระทรวงวัฒนธรรม
  3. 3. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

 

โครงการที่ 3: จัดตั้งศูนย์บ่มเพาะธุรกิจ (Lamphun Business Incubation Center) (LPN-C-3)

จัดตั้งศูนย์บ่มเพาะธุรกิจเพื่อพัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์ จัดหาผู้เชี่ยวชาญเพื่อให้คำปรึกษาแก่ผู้ประกอบการ จัดสรรพื้นที่เพื่ออำนวยความสะดวกสำหรับการออกแบบและนำเสนอผลงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการประกอบธุรกิจเพิ่มโอกาสพบกับนักลงทุน สนับสนุนการพัฒนาขีดความสามารถของผู้ประกอบการโดยเฉพาะมิติด้านเทคโนโลยี

งบประมาณ 50 ล้านบาท     ระยะเวลา 3 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย C1.1/ C1.2/ C1.3/ C3.2/ C3.3/ C3.4/ C3.5

ผลลัพธ์ 

ผู้ประกอบการได้รับสนับสนุนการพัฒนาขีดความสามารถ มีพื้นที่สำหรับแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการประกอบธุรกิจ โดยเฉพาะมิติด้านเทคโนโลยี รวมถึงมีโอกาสในการพัฒนา สร้างสรรค์การออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการ มีพื้นที่นำเสนอผลงานตามศักยภาพและพบปะนักลงทุนเพื่อเพิ่มโอกาสทางธุรกิจทั้งในและต่างประเทศ

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานจังหวัดลำพูน
  2. 2. หอการค้าจังหวัดลำพูน
  3. 3. สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดลำพูน
  4. 4. สำนักงานพาณิชย์จังหวัดลำพูน
  5. 5. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนจังหวัดลำพูน
  6. 6. สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดลำพูน
  7. 7. อุทยานวิทยศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยลัยเชียงใหม่

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงพาณิชย์
  2. 2. กระทรวงอุตสาหกรรม

อุตสาหกรรมดิจิทัล

โครงการที่ 1: Lamphun Digital Startup Platform (LPN-D-1)

สนับสนุนการใช้ Digital Marketing เพื่อช่วยดำเนินธุรกิจ สร้าง platform เพื่อรองรับการขยายตัวทางด้านการตลาดให้กับ กลุ่ม Digital Start up และกลุ่มผู้ประกอบการนวัตกรรมและเทคโนโลยีของจังหวัดลำพูนเพื่อผลักดัน จูงใจ ให้ผู้ประกอบการสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนจากสถาบันการเงินทั้งภาครัฐและเอกชน

งบประมาณ 60 ล้านบาท     ระยะเวลา 3 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย D1-2

ผลลัพธ์

  1. เกิด Platform online โดยเฉพาะกลุ่มผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก (SME) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เป็นโอกาสการขยายฐานลูกค้าออกไปอย่างกว้างขวางและรวดเร็ว
  2. 2. มีการสร้าง website ที่สะท้อนถึงตัวตนของธุรกิจที่ชัดเจน
  3. 3. เกิดการตลาดแบบบัดดี (Buddy Marketing) เกิดความร่วมมือกับธุรกิจอื่นรวมถึงทรัพยากรเพื่อส่งเสริมการขาย
  4. 4. ผู้ประกอบการมีความความตระหนักถึงความสำคัญของกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
  5. 5. ผู้ประกอบการรับทราบนโยบายและสิทธิประโยชน์ต่างๆ ในการส่งเสริมการลงทุน โดยเฉพาะประเภทกิจการ Digital
  6. 6. มีการขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ Software และ Digital content เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือและเกิดการขยายตัวทางการตลาดให้กับกลุ่มผู้ใช้งานดิจิทัล

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดลำพูน
  2. 2. สำนักงานจังหวัดลำพูน
  3. 3. สำนักงานพาณิชย์จังหวัดลำพูน
  4. 4. สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดลำพูน
  5. 5. หอการค้าจังหวัดลำพูน
  6. 6. สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
  7. 7. สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงานลำพูน
  8. 8. สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดลำพูน

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงพาณิชย์
  2. 2. กระทรวงอุตสาหกรรม
  3. 3. กระทรวงแรงงาน
  4. 4. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

 

โครงการที่ 2: สื่อดิจิทัลเพื่อการท่องเที่ยวลำพูน (LPN-D-2)

ส่งเสริมการนำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้เพื่อให้บริการนักท่องเที่ยว สนับสนุนการใช้ Social Media สำหรับผู้ประกอบการท่องเที่ยวลำพูนในยุคดิจิทัลเพื่อสร้างแรงบันดาลใจในการมาเยี่ยมเยือนจังหวัดลำพูนและกระตุ้นการตัดสินใจเดินทางของนักท่องเที่ยว พัฒนาฐานข้อมูลกลางด้านการท่องเที่ยวของจังหวัด ที่สามารถเชื่อมโยงสู่จังหวัดอื่น ๆ ใน NEC

งบประมาณ 15 ล้านบาท     ระยะเวลา 3 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย D3

ผลลัพธ์

  1. มีสื่อดิจิทัลเพื่อให้บริการนักท่องเที่ยว เข่น สื่อดิจิทัลด้านองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวของจังหวัด ด้านที่พัก ด้านการเดินทาง ด้านการบริการข้อมูลการท่องเที่ยวของจังหวัด ด้านกิจกรรมการท่องเที่ยว รวมถึงด้านอุปกรณ์ที่ใช้ในการท่องเที่ยว
  2. 2. มีการประชาสัมพันธ์การตลาดของธุรกิจชุมชนของจังหวัดลำพูนผ่านสื่อดิจิทัล
  3. 3. เกิด Digital content เพื่อส่งเสริมประสบการณ์ท่องเที่ยวลำพูนเพื่อสร้างแรงบันดาลใจต่อนักท่องเที่ยวและกระตุ้นการตัดสินใจเดินทาง
  4. 4. มีฐานข้อมูลกลางด้านการท่องเที่ยว ที่สามารถเชื่อมโยงกับจังหวัดอื่นๆ ในพื้นที่ NEC

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานจังหวัดลำพูน
  2. 2. สำนักงานพาณิชย์จังหวัดลำพูน
  3. 3. สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดลำพูน
  4. 4. หอการค้าจังหวัดลำพูน
  5. 5. สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
  6. 6. สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงานลำพูน
  7. 7. สำนักงานขนส่งจังหวัดลำพูน
  8. 8. สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดลำพูน

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
  2. 2. กระทรวงคมนาคม
  3. 3. กระทรวงพาณิชย์
  4. 4. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

 

โครงการที่ 3: Lamphun Smart City (LPN-D-3)

พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ฐานข้อมูล และระบบที่สามารถเชื่อมโยงการทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อขับเคลื่อน Smart city ลำพูนเมืองเก่าอัจฉริยะ (Lamphun Smart Heritage City) ยกระดับการบริการประชาชนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล พัฒนาศักยภาพบุคลากร ให้มีความรู้และใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิภาพ

งบประมาณ 60 ล้านบาท     ระยะเวลา 3 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย D4

ผลลัพธ์

  1. 1. เกิดการขับเคลื่อน Smart city ลำพูนเมืองเก่าอัจฉริยะ (Lamphun Smart Heritage City)
  2. 2. มีการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารเมือง
  3. 3. ประชาชนได้รับการบริการที่มีประสิทธิภาพ
  4. 4. บุคลากรมีความรู้และสามารถใช้งานเทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานจังหวัดลำพูน
  2. 2. สำนักงานพาณิชย์จังหวัดลำพูน
  3. 3. หอการค้าจังหวัดลำพูน
  4. 4. สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
  5. 5. สำนักงานขนส่งจังหวัดลำพูน
  6. 6. สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดลำพูน

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงคมนาคม
  2. 2. กระทรวงพาณิชย์

3. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

อุตสาหกรรมท่องเที่ยวและท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

โครงการที่ 1: Lamphun Lanna Heritage (LPN-T-1)

จัดกิจกรรมและเทศกาลท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และสืบสานความเป็นเมืองมรดก โดยใช้นวัตกรรมเป็นเครื่องมือสนับสนุน Soft Power ชูสินค้าและมรดกทางวัฒนธรรมที่โดดเด่นของลำพูน ตลอดจนการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความตระหนักรับรู้ถึงคุณค่าทางมรดกวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวแก่เยาวชน นำเสนอคุณค่าความสำคัญของเชื่อมโยงกับพื้นที่ NEC

งบประมาณ 10 ล้านบาท     ระยะเวลา 2 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย T2.2-2.6

ผลลัพธ์

  1. 1. สามารถยกระดับการอนุรักษ์และสืบสานความเป็นเมืองมรดกที่มีคุณค่าของจังหวัด
  2. 2. เกิดกิจกรรมและเทศกาลท่องเที่ยวโดยใช้นวัตกรรมเป็นเครื่องมือสนับสนุน Soft Power ของจังหวัดลำพูน
  3. 3. เยาวชนมีความตระหนักถึงคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวของจังหวัดลำพูน

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงานลำพูนสมาคมแพทย์แผนไทยจังหวัดลำพูน
  2. 2. อุทยานวิทยศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยลัยเชียงใหม่
  3. 3. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดลำพูน
  4. 4. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดลำพูน
  5. 5. หอการค้าจังหวัดลำพูน
  6. 6. สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดลำพูน
  7. 7. สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำพูน

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงแรงงาน
  2. 2. กระทรวงวัฒนธรรม
  3. 3. กระทรวงสาธารณสุข
  4. 4. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

 

โครงการที่ 2: Lamphun Sport and Wellness Tourism (LPN-T-2)

พัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวด้านอาหาร สนับสนุนกิจกรรมการท่องเที่ยวที่เพิ่มผลิตภาพให้กับร่างกายและจิตใจ พัฒนาโปรแกรม Digital Detox (ล้างพิษดิจิตอล) และแหล่งทำสมาธิวิปัสสนา ส่งเสริมและยกระดับธุรกิจบริการสุขภาพ ส่งเสริมผู้ประกอบการท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพจังหวัดลำพูนให้มีความพร้อมในการรองรับนักท่องเที่ยว

งบประมาณ 10 ล้านบาท     ระยะเวลา 3 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย T1.1/ T1.2/ T2.4/ T3.3

ผลลัพธ์

  1. 1. เกิดกิจกรรมการท่องเที่ยวด้านอาหารสุขภาพ อาหารท้องถิ่นที่เป็นตัวแทนเชิงสัญลักษณ์ของพื้นที่
  2. 2. มีกิจกรรมเดินทางที่เพิ่มผลิตภาพให้กับร่างกายและจิตใจในลักษณะ health-oriented trip
  3. 3. โปรแกรม Digital Detox (ล้างพิษดิจิตอล) ในสภาพแวดล้อมที่ใกล้ชิดธรรมชาติและกลุ่มคน
  4. 4. ธุรกิจที่พักให้ความสำคัญกับกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ เพื่อรองรับความต้องการพักผ่อนและฟื้นฟูร่างกายของนักท่องเที่ยว

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงานลำพูนสมาคมแพทย์แผนไทยจังหวัดลำพูน
  2. 2. อุทยานวิทยศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยลัยเชียงใหม่
  3. 3. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดลำพูน
  4. 4. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดลำพูน
  5. 5. หอการค้าจังหวัดลำพูน
  6. 6. สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดลำพูน
  7. 7. สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำพูน

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงแรงงาน
  2. 2. กระทรวงวัฒนธรรม
  3. 3. กระทรวงสาธารณสุข
  4. 4. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

 

โครงการที่ 3: Lamphun BCG Tourism (LPN-T-3)

ยกระดับศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดลำพูนภายใต้แนวคิด BCG ท่องเที่ยวเชิงนวัตกรรมและความหลากหลายชีวภาพ ท่องเที่ยววิถีเศรษฐกิจหมุนเวียนสู่ความยั่งยืน ท่องเที่ยวสมดุลดีต่อโลก ลดการปล่อยคาร์บอนฯ จากกิจกรรมต่างๆ  มุ่งสู่ Net Zero Emissions) สร้างพื้นที่/แหล่งท่องเที่ยวต้นแบบ BCG Tourism

งบประมาณ 15 ล้านบาท     ระยะเวลา 3 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย T3.1-3.4

ผลลัพธ์ 

  1. 1. เกิดการรับรู้แหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดลำพูนภายใต้แนวคิด BCG
  2. 2. ลดทรัพยากร ลดพลังงาน ลดของเหลือ/ขยะ จากการท่องเที่ยว
  3. 3. ลดการปล่อยคาร์บอนฯ จากกิจกรรมต่าง ๆ
  4. 4. เกิดพื้นที่/แหล่งท่องเที่ยวต้นแบบ Best Practice: Lamphun BCG in Tourism

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. อุทยานวิทยศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยลัยเชียงใหม่
  2. 2. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดลำพูน
  3. 3. หอการค้าจังหวัดลำพูน
  4. 4. สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดลำพูน
  5. 5. สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำพูน
  6. 6. สำนักงานขนส่งจังหวัดลำพูน

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงแรงงาน
  2. 2. กระทรวงวัฒนธรรม
  3. 3. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

4. กรมขนส่งทางบก

อุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร

โครงการที่ 1: Lamphun Food Valley พัฒนาลำพูนให้เป็น “หุบเขาแห่งอาหาร” (LPN-A-1)

พัฒนาลำพูนให้เป็น “หุบเขาแห่งอาหาร” ต่อยอดพัฒนาเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น เกษตรสุขภาพ เกษตรแปรรูป โดยนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในกระบวนการผลิต พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปและอาหารแบบครบวงจร เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันสินค้าเกษตรของจังหวัดสู่สินค้าที่ได้มาตรฐานและมูลค่าสูง ภายใต้แนวคิด BCG

งบประมาณ 45 ล้านบาท     ระยะเวลา 3 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย A1.1/ A2.2/ A2.4/ A2.5/A2.6

ผลลัพธ์

  1. 1. เกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น เกษตรสุขภาพ เกษตรแปรรูปได้รับการพัฒนาต่อยอด
  2. 2. เกิดอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปและอาหารแบบครบวงจร
  3. 3. สินค้าเกษตรของจังหวัดลำพูนยกระดับเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐานและมูลค่าสูง
  4. 4. มีนวัตกรรมด้านอาหารที่สนับสนุนสินค้าเกษตรออกสู่ตลาดในเชิงพาณิชย์

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานจังหวัดลำพูน
  2. 2. ศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ 8 จังหวัดลำพูน
  3. 3. สำนักงานประมงจังหวัดลำพูน
  4. 4. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดลำพูน
  5. 5. สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดลำพูน
  6. 6. หอการค้าจังหวัดลำพูน
  7. 7. สำนักงานเกษตรจังหวัดลำพูน
  8. 8. อุทยานวิทยศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยลัยเชียงใหม่

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงแรงงาน
  2. 2. กระทรวงอุตสาหกรรม
  3. 3. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
  4. 4. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

 

โครงการที่ 2: ลำพูน: ตลาดอาหารที่ยั่งยืนและอุตสาหกรรมเกษตรชีวภาพ (LPN-A-2)

สนับสนุนการทำเกษตรกรรมแบบยั่งยืน เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ผลักดันเกษตรอินทรีย์และเกษตรท้องถิ่นอย่างเป็นรูปธรรม สร้างความเข้มแข็งให้แก่อุตสาหกรรมอาหารท้องถิ่น ด้วยการก่อตั้งตลาดอินทรีย์และอาหารท้องถิ่น สนับสนุนการทำเกษตรแนวตั้งและเกษตรในเมือง ส่งเสริมการผลิตอาหารที่ยั่งยืนและอุตสาหกรรมเกษตรชีวภาพ

งบประมาณ 30 ล้านบาท     ระยะเวลา 3 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย A1.1-1.3, A2.2, A2.4

ผลลัพธ์

  1. 1. เกษตรกรจังหวัดลำพูนทำเกษตรกรรมแบบยั่งยืน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
  2. 2. ผลผลิตของจังหวัดลำพูนมีภาพลักษณ์ที่ดีคุณภาพ ปลอดภัย สร้างความมั่นใจแก่ผู้บริโภค
  3. 3. เกิดตลาดอินทรีย์และส่งเสริมอาหารท้องถิ่นที่มีการใช้ทรัพยากรจาจกชุมชนที่มีความสะอาด ปลอดภัย
  4. 4. พื้นที่ในเมืองมีการทำเกษตรมากขึ้น

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานจังหวัดลำพูน
  2. 2. ศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ 8 จังหวัดลำพูน
  3. 3. สำนักงานประมงจังหวัดลำพูน
  4. 4. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดลำพูน
  5. 5. สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดลำพูน
  6. 6. หอการค้าจังหวัดลำพูน
  7. 7. สำนักงานเกษตรจังหวัดลำพูน
  8. 8. อุทยานวิทยศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยลัยเชียงใหม่

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงแรงงาน
  2. 2. กระทรวงอุตสาหกรรม
  3. 3. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
  4. 4. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

 

โครงการที่ 3: พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการเกษตร เทคโนโลยี นวัตกรรม และโลจิสติกส์จังหวัดลำพูน (LPN-A-3)

การลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่งและเครือข่ายโลจิสติกส์ตามเส้นทางสำคัญและการเชื่อมโยงสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อสนับสนุนให้จังหวัดลำพูนเป็นศูนย์กลางการกระจายสินค้าเกษตรของภาคเหนือ สนับสนุนการนำเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีดิจิทัลในการแก้ไขปัญหา

  • ส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำในระดับไร่นา
  • ส่งเสริมการประยุกต์ใช้งานพลังงานทดแทนโซล่าเซลล์ พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อการเกษตร
  • ก่อสร้างบ่อบาดาลและระบบสูบน้ำโซล่าร์เซลล์เพื่อการเกษตร
  • สร้างโรงคัดบรรจุผักและผลไม้สดที่ได้มาตรฐาน
  • สนับสนุนให้มีโรงรมควันซัลเฟอร์ไดออกไซด์ที่ได้มาตรฐาน
  • ก่อสร้างโรงอบไอน้ำเพื่อกำจัดแมลงวันผลไม้เพื่อการส่งออกผลไม้ (มะม่วง)
  • สนับสนุนการใช้ระบบโลจิสติกส์ห่วงโซ่ความเย็น (cold chain) เพื่อรักษาความสดใหม่ของผลมะม่วง
  • สร้างศูนย์กลางนวัตกรรมเทคโนโลยีการเกษตรจังหวัดลำพูน
  • ส่งเสริมกระบวนการรับรองเพื่อตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัย และความน่าเชื่อของสินค้าเกษตร

งบประมาณ 1,000 ล้านบาท     ระยะเวลา 5 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย A2.1, A2.3, A2.5-2.6

ผลลัพธ์

  1. เกิดการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการคมนาคมขนส่งผลผลิตเกษตร บริการขนส่ง และเครือข่ายโลจิสติกส์ตามเส้นทางสำคัญ
  2. จังหวัดลำพูนกลายเป็นศูนย์กลางการกระจายสินค้าเกษตรของภาคเหนือ
  3. เกิดโครงสร้างพื้นฐานทางการเกษตรที่มีประสิทธิภาพ
  4. โรงคัดบรรจุผักและผลไม้สดที่ได้มาตรฐาน
  5. โรงรมควันซัลเฟอร์ไดออกไซด์ที่ได้มาตรฐาน
  6. โรงอบไอน้ำเพื่อกำจัดแมลงวันผลไม้เพื่อการส่งออกผลไม้ (มะม่วง)
  7. มีระบบโลจิสติกส์ห่วงโซ่ความเย็น (cold chain) ที่มีมาตรฐาน
  8. เกิดการจัดตั้งศูนย์กลางนวัตกรรมเทคโนโลยีการเกษตรจังหวัดลำพูน
  9. สินค้าเกษตรได้รับการรับรองคุณภาพความปลอดภัย มีความน่าเชื่อถือ

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานจังหวัดลำพูน
  2. 2. ศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ 8 จังหวัดลำพูน
  3. 3. สำนักงานประมงจังหวัดลำพูน
  4. 4. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดลำพูน
  5. 5. สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดลำพูน
  6. 6. หอการค้าจังหวัดลำพูน
  7. 7. สำนักงานเกษตรจังหวัดลำพูน
  8. 8. อุทยานวิทยศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยลัยเชียงใหม่

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงแรงงาน
  2. 2. กระทรวงอุตสาหกรรม
  3. 3. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
  4. 4. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

จังหวัดลำปาง

อุตสาหกรรมสร้างสรรค์

โครงการที่ 1: ศูนย์การออกแบบสร้างสรรค์แบบครบวงจร (Creative Design Center) (LPG-C-1)

จัดตั้งศูนย์ออกแบบสร้างสรรค์ เพื่อส่งเสริมการต่อยอดองค์ความรู้จากฐานภูมิปัญญาและทุนทางวัฒนธรรมในการการออกแบบเชิงสร้างสรรค์ร่วมสมัย พัฒนาคนรุ่นใหม่และชุมชนสร้างสรรค์ สร้างระบบนิเวศการเรียนรู้ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสร้างสรรค์ พัฒนาย่านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เชื่อมโยงการพัฒนาลำปางเมืองสร้างสรรค์

งบประมาณ 1,000 ล้านบาท     ระยะเวลา 3 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย C1.1, C2.7, C3.1, C3.2, C3.3, C3.4, C3.5

ผลลัพธ์ 

  1. เกิดศูนย์การออกแบบสร้างสรรค์แบบครบวงจร (Creative Design Center)
  2. มีนิเวศการเรียนรู้ผ่านชุมชนแห่งการสร้างสรรค์
  3. เกิดผลิตภัณฑ์ บริการ หรือนวัตกรรมจากฐานทางวัฒนธรรมสร้างสรรค์
  4. มูลค่าทางเศรษฐกิจจากการขับเคลื่อนกิจกรรมภายใต้ศูนย์การออกแบบสร้างสรรค์เพิ่มขึ้น

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด
  2. 2. สมาคมเซรามิกลำปาง
  3. 3. สมาคม Nohmex
  4. สำนักงานพาณิชย์จังหวัด
  5. สำนักงานพัฒนาชุมชน

6.สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงพาณิชย์
  2. 2. กระทรวงแรงงาน
  3. 3. กระทรวงวัฒนธรรม
  4. 4. องค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง

 

โครงการที่ 2: ขับเคลื่อนลำปางสู่เมืองเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐาน BCG (Lampang Creative City) (LPG-C-2)

พัฒนาจังหวัดลำปาง บ่มเพาะนักสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาเมือง สนับสนุนการศึกษาและวิจัย และพัฒนาบุคลากรด้านสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเป้าหมาย พัฒนาคนมากกว่า 1 ทักษะความรู้ในตลาดแรงงานทุกระดับ พัฒนายกระดับผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ ออกแบบและพัฒนาระบบนิเวศของเมือง เพื่อยกระดับสู่การเป็น Creative space-Movie Town

งบประมาณ 1,000 ล้านบาท     ระยะเวลา 3 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย C1.1, C2.7, C3.1-3.5

ผลลัพธ์ 

  1. ลำปางสามารถเป็นจุดหมายและศูนย์กลางของชุมชนนักสร้างสรรค์
  2. เศรษฐกิจของจังหวัดลำปาง และภูมิภาคมีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้น

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด
  2. 2. สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดลำปาง
  3. 3. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดลำปาง
  4. 4. สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมจังหวัดลำปาง
  5. 5. หอการค้าจังหวัดลำปาง

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงพาณิชย์
  2. 2. กระทรวงแรงงาน
  3. 3. กระทรวงวัฒนธรรม

 

โครงการที่ 3: Lampang Festival (เทศกาลสร้างสรรค์ของชุมชน) (LPG-C-3)

จัดเทศกาลสร้างสรรค์ชุมชนตลอด 12 เดือนเชื่อมต่อศักยภาพคน พื้นที่ และสินทรัพย์ของเมืองลำปาง  สร้างเครือข่ายของการพัฒนาสร้างสรรค์ เชื่อมโยงการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในระดับภูมิภาค ยกระดับการพัฒนาเมืองสร้างสรรค์จากฐานภูมิปัญญาและสินทรัพย์ของเมืองลำปาง สู่การพัฒนาเมืองสร้างสรรค์ในระดับภูมิภาค

งบประมาณ 200 ล้านบาท     ระยะเวลา 3 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย C2.1, C2.2, C2.3, C2.4, C2.5, C2.6, C2.7

ผลลัพธ์

  1. การรับรู้ ชื่อเสียง ศักยภาพเชิงสร้างสรรค์ของจังหวัดลำปางและภูมิภาคเพิ่มขึ้น
  2. เกิดบรรยากาศในการพัฒนาเชิงสร้างสรรค์ ฟื้นฟูเมืองให้มีชีวิตชีวา มีการสร้างประโยชน์จากพื้นที่และความร่วมมือจากเครือข่ายการพัฒนาเชิงสร้างสรรค์ของเมือง
  3. เศรษฐกิจของจังหวัดลำปาง และภูมิภาคมีอัตราการเติบโตบนฐานการพัฒนาเมืองสร้างสรรค์มากขึ้น
  4. คุณภาพชีวิตของคนในพื้นที่ดีขึ้น เกิดการกระจายรายได้สู่ชุมชน

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักงานจังหวัดลำปาง
  2. 2. สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดลำปาง
  3. 3. สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดลำปาง
  4. 4. สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด
  5. 5. สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดลำปาง
  6. 6. สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมจังหวัดลำปาง
  7. 7. สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
  2. 2. กระทรวงอุตสาหกรรม
  3. 3. กระทรวงวัฒนธรรม
  4. 4. กระทรวงมหาดไทย

อุตสาหกรรมดิจิทัล

โครงการที่ 1: ศูนย์ส่งเสริมนวัตกรรมดิจิทัล Digital Park (LPG-D-1)

จัดตั้งศูนย์ส่งเสริมนวัตกรรมดิจิทัล Digital Park สำหรับเป็นพื้นที่กลางสำหรับส่งเสริมและสนับสนุนการลงทุนของกลุ่ม Digital Player สนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ Data Center และ Cloud Service รวมถึงสร้างพื้นที่เพื่อเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้ และเสริมสร้างความรู้ในด้านดิจิทัลและเทคโนโลยีที่สนับสนุนการเติบโตทางเศรษฐกิจของ NEC

งบประมาณ 1,500 บาท     ระยะเวลา 2 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย D1 D2 D3 D4.1 D4.2

ผลลัพธ์ 

  1. เกิดศูนย์ส่งเสริมนวัตกรรมดิจิทัล Digital Park
  2. ศูนย์การเรียนรู้ Digital Park สามารถเสริมสร้างความรู้ในด้านเทคโนโลยีดิจิทัล Data Center และ Cloud Service

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานจังหวัดลำปาง
  2. 2. สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด
  3. 3. สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดลำปาง
  4. 4. สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล จังหวัดลำปาง
  5. 5. หอการค้าจังหวัดลำปาง
  6. 6. มหาวิทยาลัยในจังหวัด
  7. 7. อุทยานวิทยศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยลัยเชียงใหม่

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
  2. 2. กระทรวงอุตสาหกรรม
  3. 3. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

 

โครงการที่ 2: E-commerce Park (LPG-D-2)

สร้างพื้นที่ส่วนกลางที่สนับสนุนและส่งเสริมธุรกิจออนไลน์และการให้บริการพิเศษต่างๆ ที่จำเป็น ที่อยู่ในพื้นที่เดียวกัน ให้กับผู้ประกอบการและนักลงทุนที่ต้องการเริ่มต้นหรือขยายกิจการธุรกิจออนไลน์อย่างยั่งยืนประกอบด้วยพื้นที่ธุรกิจ อาคารระบบส่งสินค้าที่ทันสมัย  ศูนย์การเรียนรู้และสัมมนา และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับธุรกิจออนไลน์

งบประมาณ 1,000 บาท     ระยะเวลา 2 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย D1 D2 D3 D4.1 D4.2

ผลลัพธ์

  1. อาคารหรือพื้นที่สำหรับธุรกิจ E-commerce ที่มีสิ่งอำนวยความสะดวกครบครัย
  2. 2. พื้นที่ที่มีระบบส่งสินค้าที่ทันสมัยและประสิทธิภาพ และระบบจัดการคลังสินค้าที่มีประสิทธิภาพ
  3. 3. ศูนย์การเรียนรู้และการสัมมนาในด้าน E-commerce
  4. 4. พื้นที่ทำงานร่วมกันสำหรับ Digital Nomad

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. หอการค้าจังหวัดลำปาง
  2. 2. สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดลำปาง
  3. 3. มหาวิทยาลัยในจังหวัด
  4. 4. สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล จังหวัดลำปาง
  5. 5. สำนักงานขนส่งจังหวัดลำปาง
  6. 6. สำนักงานพาณิชย์จังหวัดลำปาง
  7. 7. สำนักงานจังหวัดลำปาง

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงพาณิชย์
  2. 2. กระทรวงคมนาคม
  3. 3. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

 

โครงการที่ 3: พัฒนาระบบขนส่งอัจฉริยะเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวสีเขียวและโลจิสติกส์จังหวัดลำปาง (Lampang Smart Mobility) (LPG-D-3)

โครงการพัฒนายกระดับความปลอดภัยบนโครงข่ายคมนาคมขนส่ง การเพิ่มประสิทธิภาพการเดินทางและการจราจรภายในโครงข่ายคมนาคม การให้บริการระบบขนส่งสาธารณะ และการพัฒนาระบบเทคโนโลยีรองรับระบบขนส่งอัจฉริยะ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพต่อการพัฒนาเชื่อมโยงในระบบการท่องเที่ยวและการส่งเสริมกิจกรรมด้านการขนส่งต่าง ๆ

งบประมาณ 500 ล้านบาท     ระยะเวลา 2 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย D3 D4.1D4.2

ผลลัพธ์

  1. 1. เกิดระบบการขนส่งอัจฉริยะ
  2. 2. เกิดนวัตกรรมด้านการคมนาคมขนส่งของจังหวัดลำปาง
  3. 3. มูลค่าทางเศรษฐกิจที่เพิ่มขึ้นจากการขับเคลื่อนกิจกรรมด้านการขนส่ง
  4. 4. เกิดเครือข่ายทางการคมนาคมขนส่งและผู้ให้บริการด้านการท่องเที่ยว

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานจังหวัดลำปาง
  2. 2. สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดลำปาง
  3. 3. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) สำนักงานลำปาง
  4. 4. สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวจังหวัดลำปาง
  5. 5. เทศบาลนครลำปาง
  6. 6. สำนักงานขนส่งจังหวัดลำปาง
  7. 7. อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  8. 8. สหกรณ์เดินรถ ลำปาง จำกัด

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
  2. 2. กระทรวงคมนาคม
  3. 3. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

อุตสาหกรรมท่องเที่ยวและท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

โครงการที่ 1: โครงการท่องเที่ยวเส้นทางน้ำพุร้อนและท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Health and Eco Tourism Hot Spring)  (LPG-T-1)

โครงการเพื่อการพัฒนาระบบนิเวศและมาตรฐานการบริการแหล่งน้ำพุร้อนและท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ พัฒนาระบบนิเวศที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ พัฒนาศักยภาพของบุคลากรและผู้ประกอบการในการให้บริการ ส่งเสริมการลงทุนและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ออกแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเชื่อมโยงการท่องเที่ยวในรูปแบบที่หลากหลาย

งบประมาณ 2,000 บาท     ระยะเวลา 1-3 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย T1.1, T1.2, T1.3, T2.1, T2.2, T2.3, T2.4, T2.5, T2.6, T3.1, T3.2, T3.3, T3.4

ผลลัพธ์

  1. 1. บริการอุตสาหกรรมท่องเที่ยว และท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Wellness Tourism) ที่ได้คุณภาพและมาตรฐาน
  2. 2. ผู้ประกอบการด้านท่องเที่ยวเชิงสุขภาพมาลงทุนในพื้นที่เพิ่มขึ้น
  3. 3. รายได้จากธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ และอุตสาหกรรมอื่นๆที่เกี่ยวข้องเพิ่มขึ้น
  4. 4. มีการเชื่อมโยงเกิดเป็นศูนย์กลางบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ (Wellness Hub)

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. หอการค้าจังหวัดลำปาง
  2. 2. สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดลำปาง
  3. 3. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดลำปาง
  4. 4. สมาคมท่องเที่ยว นครลำปาง
  5. 5. สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวจังหวัดลำปาง
  6. 6. สำนักงานสาธารณสุขลำปาง
  7. 7. สมาคมเครือข่ายแพทย์แผนไทยลำปาง
  8. 8. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักงานลำปาง
  9. 9. สำนักงานขนส่งจังหวัดลำปาง
  10. 10. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงสาธารณสุข
  2. 2. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
  3. 3. กระทรวงพาณิชย์
  4. 4. กระทรวงคมนาคม

 

โครงการที่ 2: Lampang MINI MICE (LPG-T-2)

การบริหารจัดการฐานทุนทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ทรัพยากรที่มีอยู่เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว และปรับให้สอดคล้องกับพฤติกรรมการบริโภคในทุกระดับเพื่อรองรับการพัฒนาไปสู่เมือง MINI MICE ส่งเสริมการจัดกิจกรรม MICE ทั้งภายในประเทศและระดับนานาชาติ ส่งเสริมการสร้างรายได้ให้กับธุรกิจที่เกี่ยวข้อง พร้อมเชื่อมโยงธุรกิจ MICE ในระดับ NEC

งบประมาณ 1,200 บาท     ระยะเวลา 1-3 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย T1.2, T1.3, T2.1, T2.2, T2.3, T2.4 , T2.5 , T2.6, T3.1 , T3.2 , T3.3 , T3.4, T4.1 , T4.2

ผลลัพธ์

  1. 1. ลำปางมีศักยภาพและความพร้อมของพื้นที่ในการรองรับด้านอุตสาหกรรม MICE และเชื่อมโยงธุรกิจ MICE ของ NEC
  2. 2. จำนวนนักท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ MICE เพิ่มขึ้น
  3. 3. กิจกรรม MICE ในพื้นที่เพิ่มมากขึ้น
  4. 4. รายได้เพิ่มขึ้นทั้งอุตสาหกรรม MICE และอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. หอการค้าจังหวัดลำปาง
  2. 2. สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวจังหวัดลำปาง
  3. 3. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดลำปาง
  4. 4. สมาคมท่องเที่ยว นครลำปาง
  5. 5. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักงานลำปาง
  6. 6. สำนักงานขนส่งจังหวัดลำปาง
  7. 7. สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดลำปาง

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
  2. 2. กระทรวงพาณิชย์
  3. 3. กระทรวงคมนาคม

 

โครงการที่ 3: พัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศการให้บริการสุขภาพ (Medical Service Hub) (LPG-T-3)

ยกระดับมาตรฐานโรงพยาบาลประจำจังหวัดและบริการสุขภาพเฉพาะทางที่ต้องใช้ความชำนาญและเทคโนโลยีชั้นสูง ได้แก่ การผ่าตัดโรคหัวใจ/การรักษาโรคมะเร็ง พัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้แก่ ยาสมุนไพรไทย เครื่องสำอาง อาหารเสริมเพื่อสุขภาพ ยกระดับพัฒนาบุคลลากรเพื่อรองรับการจัดการศึกษาระดับปริญญาและหลังปริญญา และหลักสูตรนานาชาติของวิทยาลัยพยาบาลลำปาง รวมทั้งการจัดการศึกษาแก่บุคคลากรในระบบให้บริการสุขภาพ

งบประมาณ 3,500 ล้านบาท     ระยะเวลา 3-5 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย T1, T1.1, T1.2, T1.3

ผลลัพธ์

  1. 1. โรงพยาบาลใจจังหวัดได้รับรองมาตรฐาน The Joint Commission (TJC)
  2. 2. เกิดศูนย์พัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพ (Product Hub) ที่ได้มาตรฐานและสามารถพัฒนาและสร้างแบรนด์สินค้าสุขภาพ
  3. 3. มีหลักสูตร(นานาชาติ) ในด้านการบริการและดูแลผู้สูงอายุ จำนวน 1 หลักสูตร

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. หอการค้าจังหวัดลำปาง
  2. 2. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดลำปาง
  3. 3. สมาคมท่องเที่ยว นครลำปาง
  4. 4. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง
  5. 5. กรมสุขภาพจิต ลำปาง
  6. 6. สมาคมเครือข่ายแพทย์แผนไทยลำปาง
  7. 7. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักงานลำปาง
  8. 8. สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดลำปาง

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงสาธารณสุข
  2. 2. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
  3. 3. กระทรวงพาณิชย์

อุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร

โครงการที่ 1: Green Tech Agri-Food Hub: ศูนย์กลางอาหารและเกษตรครบวงจรที่เน้นพลังงานสะอาดและใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ (LPG-A-1)

จัดตั้งศูนย์ศูนย์กลางด้านอาหารและเกษตรที่เน้นใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่และนวัตกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการผลิตที่ใช้พลังงานสะอาด จัดเวทีให้ผู้ที่สนใจมาเรียนรู้  สนับสนุนธุรกิจเกษตรและอาหารที่ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ สร้างโอกาสให้เกษตรกรเข้าถึงเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เกี่ยวข้อง

งบประมาณ 1,500 ล้านบาท     ระยะเวลา 2 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย A1.1 A1.2 A1.3 A2.5

ผลลัพธ์

  1. ศูนย์ศูนย์กลางด้านอาหารและเกษตรที่ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่
  2. เกิดพื้นที่เพื่อทดลองการเพาะปลูกและผลิตอาหารที่ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยให้ความสำคัญในการใช้พลังงานสะอาด เกษตรกรรมแนวตั้งและเกษตรในเมือง

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. หอการค้าจังหวัดลำปาง
  2. 2. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดลำปาง
  3. 3. อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  4. 4. สำนักงานเกษตรจังหวัดลำปาง
  5. 5. สำนักงานเกษตรและสหกรณ์ จังหวัดลำปาง
  6. 6. มหาวิทยาลัยในจังหวัด
  7. 7. สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
  8. 8. สมาคมพัฒนาแม่เมาะจังหวัดลำปาง
  9. 9. กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  2. 2. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  3. 3. กระทรวงพลังงาน

 

โครงการที่ 2: Clean Energy & Eco-Smart Park: นิคมอุตสาหกรรมพลังงานสะอาดและเมืองใหม่อัจฉริยะ (LPG-A-2)

สร้างนิคมอุตสาหกรรมพลังงานสะอาด พัฒนาเมืองใหม่อัจฉริยะ สร้างพื้นที่สำหรับการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานสะอาดและอัจฉริยะในนิคมอุตสาหกรรม สนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรมในด้านพลังงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมธุรกิจที่ใช้เทคโนโลยีสะอาดโดยเชื่อมโยงกับตลาดทั้งในและต่างประเทศ ส่งเสริมให้เกิดเศรษฐกิจที่ยั่งยืนในพื้นที่

งบประมาณ 14,000  ล้านบาท     ระยะเวลา 2 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย A2.2 A2.4 A2.6 A3.2

ผลลัพธ์

  1. 1. พื้นที่นิคมอุตสาหกรรมพลังงานสะอาด
  2. 2. พื้นที่เมืองใหม่อัจฉริยะที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
  3. 3. สถานที่วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานสะอาดและอัจฉริยะ

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. หอการค้าจังหวัดลำปาง
  2. 2. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดลำปาง
  3. 3. อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  4. 4. มหาวิทยาลัยในจังหวัด
  5. 5. สำนักงานพาณิชย์จังหวัด
  6. 6. สำนักงานพลังงานจังหวัดลำปาง
  7. 7. สมาคมพัฒนาแม่เมาะจังหวัดลำปาง
  8. 8. สำนักงานสิ่งแวดล้อม (ลำปาง)
  9. 9. สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงอุตสาหกรรม
  2. 2. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
  3. 3. กระทรวงพาณิชย์
  4. 4. กระทรวงพลังงาน
  5. 5. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

 

โครงการที่ 3: Logistics and Wholesale Hub: ศูนย์กลางโลจิสติกส์ (Lampang Smart Link: Multiple Logistics Ecosystem) และศูนย์กลางค้าส่งของภูมิภาค (LPG-A-3)

โครงการเพื่อการพัฒนาการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์อัจฉริยะของภูมิภาคและมีความร่วมมือของกลุ่มธุรกิจในพื้นที่  สร้างสภาพแวดล้อมที่เป็นกลางและอำนวยความสะดวกต่อธุรกิจ สร้างศูนย์กลางการนำเสนอและการใช้เทคโนโลยีอัจฉริยะในงานโลจิสติกส์ ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรและพลังงานที่มีประสิทธิภาพ เสริมสร้างเศรษฐกิจภูมิภาคให้ยั่งยืนสร้างงานและรายได้ให้กับประชาชนในพื้นที่

งบประมาณ 4,500 บาท     ระยะเวลา 2 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย A2.1

ผลลัพธ์

  1. 1. จังหวัดลำปางพัฒนาเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ (Lampang Smart Link)
  2. 2. จังหวัดลำปางพัฒนาเป็นศูนย์กลางค้าส่งของภูมิภาค
  3. 3. จังหวัดลำปางพัฒนาเป็นศูนย์กลางการพัฒนาเทคโนโลยีอัจฉริยะ

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. หอการค้าจังหวัดลำปาง
  2. 2. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดลำปาง
  3. 3. อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  4. 4. มหาวิทยาลัยในจังหวัด
  5. 5. สำนักงานพาณิชย์จังหวัด
  6. 6. สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
  7. 7. สำนักงานขนส่งจังหวัดลำปาง

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงอุตสาหกรรม
  2. 2. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
  3. 3. กระทรวงพาณิชย์
  4. 4. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
  5. 5. กระทรวงคมนาคม

จังหวัดเชียงราย

อุตสาหกรรมสร้างสรรค์

โครงการที่ 1: เสน่ห์ภูมิปัญญา สล่าเมืองเก่า (CR-C-1)

จัดกิจกรรมนำเสนอผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาของช่างฝีมือ (สล่า) จากย่านเมืองเก่าจังหวัดเชียงราย โดยอาศัยการมีส่วนร่วมภาครัฐ เอกชนและชุมชน เพื่อสร้างพื้นที่แห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างวัฒนธรรมของแต่ละย่านเมืองเก่าจังหวัดเชียงราย เปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยวที่สนใจสามารถสัมผัสประสบการณ์มรดกทางภูมิปัญญาได้อย่างหลากหลาย

งบประมาณ 10,00,000 บาท    ระยะเวลา 1 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย C1, C1.1, C2, C2.3

ผลลัพธ์ 

  1. ผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาช่างฝีมือย่านเมืองเก่าจังหวัดเชียงรายอย่างน้อยอำเภอละ 5 ผลิตภัณฑ์ได้ทำการจัดแสดง

2 . ช่างฝีมือจากพื้นที่ย่านเมืองเก่าจังหวัดเชียงรายได้แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างกัน

  1. ลูกค้าและนักท่องเที่ยวมีทางเลือกในการสนับสนุนผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญา
  2. หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษามีแนวทางขับเคลื่อนและยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงราย
  2. 2. สำนักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย
  3. 3. หอการค้าจังหวัดเชียงราย
  4. 4. อุทยานวิทยศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยลัยเชียงใหม่
  5. 5. สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย
  6. 6. ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1
  7. 7. สำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย
  8. 8. สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัดเชียงราย

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงอุตสาหกรรม
  2. 2. กระทรวงพาณิชย์
  3. 3. กระทรวงวัฒนธรรม
  4. 4. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

 

โครงการที่ 2: TOP LOCAL CHEF CHIANG RAI (CRC-2)

โครงการจัดการแข่งขันการทำอาหารวัฒนธรรมท้องถิ่นของจังหวัดเชียงราย พร้อมกับการจัดนิทรรศการเกี่ยวกับอาหารวัฒนธรรมท้องถิ่นของจังหวัดเชียงรายเพื่อนำเสนอภูมิปัยญญาทางอาหารที่เป็นมรดกทางภูมิปัญญาของจังหวัด และเปิดพื้นที่ให้เกิดการสร้างสรรค์ทางอาหารที่จะช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับอาหารวัฒนธรรมท้องถิ่น

งบประมาณ 5,000,000 บาท    ระยะเวลา 6 เดือน     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย C2, C2.2

ผลลัพธ์

  1. ผู้เข้าร่วมแข่งขันได้สร้างสรรค์เมนูอาหารวัฒนธรรมท้องถิ่นของจังหวัดเชียงราย
  2. ผู้เข้าร่วมงานและนักท่องเที่ยว มีโอกาสชิมเมนูอาหารท้องถิ่นจังหวัดเชียงราย รวมถึงได้รับความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมการประกอบอาหารท้องถิ่นจังหวัดเชียงราย
  3. หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษาที่ มีแนวทางขับเคลื่อนและยกระดับอาหารท้องถิ่นจังหวัดเชียงราย

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงราย
  2. 2. สำนักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย
  3. 3. หอการค้าจังหวัดเชียงราย
  4. 4. องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย
  5. 5. อุทยานวิทยศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยลัยเชียงใหม่
  6. 6. สำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย
  7. 7. สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัดเชียงราย

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงอุตสาหกรรม
  2. 2. กระทรวงพาณิชย์
  3. 3. กระทรวงวัฒนธรรม
  4. 4. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

 

โครงการที่ 3: ยกระดับปราชญ์ชุมชนสู่การเป็นผู้ประกอบการอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (CRC-3)

ยกระดับปราชญ์ชุมชนด้วยกิจกรรมพัฒนาทักษะและสร้างมาตรฐานให้กับปราชญ์ชุมชน เพื่อให้เกิดการพัฒนาสู่การเป็นผู้ประกอบการอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ พร้อมกับการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ในพื้นที่ NEC เพื่อส่งเสริมความร่วมมือในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการช่วยหลือกันในชุมชน

งบประมาณ 9,000,000 บาท    ระยะเวลา 1 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย C3, C3.2-3.3

ผลลัพธ์

  1. ปราชญ์ชุมชนเจ้าของผลิตภัณฑ์และภูมิปัญญา ได้รับการยกระดับมาตรฐานและทักษะในการเป็นผู้ประกอบการอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
  2. เกิดเครือข่ายผู้ประกอบการอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ในพื้นที่ NEC
  3. 3. หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษาที่ มีแนวทางในการขับเคลื่อน ส่งเสริม และสนับสนุนปราชญ์ชุมชนและผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญา

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย
  2. 2. สำนักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย
  3. 3. สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงราย
  4. 4. หอการค้าจังหวัดเชียงราย
  5. 5. องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย
  6. 6. อุทยานวิทยศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยลัยเชียงใหม่
  7. 7. สำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย
  8. 8. มหาวิทยาลัยในพื้นที่

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงอุตสาหกรรม
  2. 2. กระทรวงพาณิชย์
  3. 3. กระทรวงวัฒนธรรม

อุตสาหกรรมดิจิทัล

โครงการที่ 1: N-E-C (N-Easy): PLAN YOUR TRIP (CRD-1)

พัฒนาแพลตฟอร์มออนไลน์เพื่อช่วยออกแบบการท่องเที่ยวในพื้นที่ NEC ที่มีระบบฐานข้อมูลออนไลน์เกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยว การบริการและการสนับสนุนการท่องเที่ยว เพิ่มความสะดวกให้แก่นักท่องเที่ยวได้มีตัวเลือกในการวางแผนการเดินทางท่องเที่ยวและสร้างโอกาสให้ผู้ประกอบการได้เข้าถึงนักท่องเที่ยวได้โดยตรง

งบประมาณ 1 ล้านบาท     ระยะเวลา 1 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย D3

ผลลัพธ์

  1. แพลตฟอร์มออนไลน์เพื่อช่วยออกแบบการท่องเที่ยวในพื้นที่ NEC (แพลตฟอร์ม N-EASY)
  2. ผู้ให้บริการด้านการท่องเที่ยว การบริการ และการสนับสนุนด้านการท่องเที่ยวในพื้นที่ NEC มีช่องทางในการประชาสัมพันธ์และการเข้าถึงกลุ่มลูกค้า
  3. แหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ NEC ได้รับการจัดทำเข้าระบบฐานข้อมูลออนไลน์
  4. นักท่องเที่ยวที่เดินทางท่องเที่ยวในพื้นที่ NEC มีตัวเลือกในการวางแผนการเดินทางท่องเที่ยวตามข้อจำกัดที่มี
  5. หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเที่ยวในพื้นที่ NEC มีแนวทางในการต่อยอดและขับเคลื่อน

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย
  2. 2. สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงราย
  3. 3. สำนักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย
  4. 4. หอการค้าจังหวัดเชียงราย
  5. 5. องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย
  6. 6. อุทยานวิทยศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยลัยเชียงใหม่
  7. 7. สำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย
  8. 8. มหาวิทยาลัยในพื้นที่

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงคมนาคม
  2. 2. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
  3. 3. กระทรวงอุตสาหกรรม
  4. 4. กระทรวงพาณิชย์
  5. 5. กระทรวงวัฒนธรรม
  6. 6. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

 

โครงการที่ 2: SMART NEC – DATA FOR ALL (CRD-2)

พัฒนาฐานข้อมูลออนไลน์ SMART NEC – DATA FOR ALL เพื่อประชาชนทั่วไป นักธุรกิจ นักลงทุนทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติสามารถเข้าถึงฐานข้อมูลทั่วไปของพื้นที่ NEC ในมิติต่าง ๆ เช่น ด้านกายภาพ ด้านประชากรศึกษา ด้านเศรษฐกิจ ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสังคมวัฒนธรรม

งบประมาณ 5 ล้านบาท     ระยะเวลา 1 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย D1, D4.2

ผลลัพธ์ 

มีระบบฐานข้อมูลออนไลน์ของพื้นที่ NEC ในมิติต่าง ๆ

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
  2. 2. สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้า จังหวัดเชียงราย
  3. 3. สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
  4. 4. สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัดเชียงราย
  5. 5. อุทยานวิทยศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยลัยเชียงใหม่
  6. 6. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จังหวัดเชียงราย
  7. 7. มหาวิทยาลัยในพื้นที่

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
  2. 2. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
  3. 3. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  4. 4. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

 

โครงการที่ 3: SMART CITIZEN (CRD-3)

จัดกิจกรรมการให้ความรู้และการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้กับประชาชนในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคเหนือ (NEC) เพื่อให้ประชาชนมีความพร้อมในการเป็นประชาชนยุคใหม่ ที่มีทักษะความรู้ และมีความสามารถในการนำเทคโนโลยีดิจิทัลไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

งบประมาณ 10 ล้านบาท     ระยะเวลา           1 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย D4, D4.1

ผลลัพธ์ 

  1. ประชาชนทั่วไป มีทักษะความรู้ด้านการนำเทคโนโลยีดิจิทัลไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น การพัฒนาอาชีพ การลงทุน เพิ่มโอกาสในการทำงาน การเรียนรู้ตลอดชีวิต และการเสริมสร้างสุขภาวะ เป็นต้น
  2. หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษาร่วมออกแบบโปรแกรมเฉพาะทางในการฝึกอบรมความรู้ด้านดิจิทัลให้กับประชาชน

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน จังหวัดเชียงราย
  2. 2. สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
  3. 3. สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้า จังหวัดเชียงราย
  4. 4. องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย
  5. 5. อุทยานวิทยศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยลัยเชียงใหม่
  6. 6. มหาวิทยาลัยในพื้นที่
  7. 7. สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย
  8. 8. สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงราย
  9. 9. หอการค้าจังหวัดเชียงราย

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
  2. 2. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
  3. 3. กระทรวงแรงงาน
  4. 4. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  5. 5. กระทรวงอุตสาหกรรม

อุตสาหกรรมท่องเที่ยวและท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

โครงการที่ 1: ย้อนรอยระเบียงอารยธรรมล้านนา-ล้านช้าง (CRT-1)

พัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคเหนือ (NEC) เชื่อมโยงเครือข่ายแหล่งท่องเที่ยวภายในอารยธรรมล้านนา-ล้านช้างที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการเรีนรู้เชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ดึงความโดดเด่นเชิงวัฒนธรรมของพื้นที่ให้เป็นรู้จักมากยิ่งขึ้น

งบประมาณ 8 ล้านบาท     ระยะเวลา 1 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย T2, T2.3, T2.5, T3.3, C2.7, C2.1

ผลลัพธ์ 

  1. ผู้ให้บริการด้านการท่องเที่ยว การบริการ และการสนับสนุนด้านการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมในพื้นที่ NEC มีข้อมูลในการพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยว
  2. แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมในพื้นที่ NEC มีการปรับปรุงข้อมูลและมีการอำนวยความสะดวกที่สอดคล้องกับความต้องการของนักท่องเที่ยว
  3. นักท่องเที่ยวที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม NEC มีทางเลือกในกิจกรรมท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น
  4. หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่ NEC มีแนวทางในการขับเคลื่อนและสนับสนุน

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานจังหวัดเชียงราย
  2. 2. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จังหวัดเชียงราย
  3. 3. สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้า จังหวัดเชียงราย
  4. 4. องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย
  5. 5. สำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย
  6. 6. หอการค้าจังหวัดเชียงราย

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
  2. 2. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
  3. 3. กระทรวงวัฒนธรรม

 

โครงการที่ 2: ยกระดับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพบ่อน้ำร้อนและน้ำพุร้อนในพื้นที่ NEC (CRT-2)

พัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพประเภทบ่อน้ำร้อนและน้ำพุร้อนในเขตระเบียงเศรษฐกิจภาคเหนือ (NEC) สร้างเกณฑ์มาตรฐานการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพประเภทบ่อน้ำร้อนและน้ำพุร้อนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล ตลอดจนการพัฒนาบุคลากรด้านการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพประเภทบ่อน้ำร้อนและน้ำพุร้อนให้มีศักยภาพในการให้บริการที่มีคุณภาพ

งบประมาณ 8 ล้านบาท     ระยะเวลา 1 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย T1, T1.1-1.3

ผลลัพธ์

  1. 1. ผู้ให้บริการด้านการท่องเที่ยว การบริการ และการสนับสนุนด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพประเภทบ่อน้ำร้อนและน้ำพุร้อนในนที่ NEC มีข้อมูลในการพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยว
  2. 2. แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพประเภทบ่อน้ำร้อนและน้ำพุร้อนในพื้นที่ NEC มีการปรับปรุงข้อมูลและมีการอำนวยความสะดวกที่สอดคล้องกับความต้องการของนักท่องเที่ยว
  3. 3. นักท่องเที่ยวที่เดินทางท่องเที่ยวในพื้นที่ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพประเภทบ่อน้ำร้อนและน้ำพุร้อนในพื้นที่ NEC มีทางเลือกในการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น
  4. หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพประเภทบ่อน้ำร้อนและน้ำพุร้อนในพื้นที่ NEC มีแนวทางในการขับเคลื่อนและสนับสนุน

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานจังหวัดเชียงราย
  2. 2. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จังหวัดเชียงราย
  3. 3. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย
  4. 4. องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย
  5. 5. หอการค้าจังหวัดเชียงราย

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
  2. 2. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
  3. 3. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  4. 4. กระทรวงสาธารณสุข

 

โครงการที่ 3: สร้างมาตรฐานชุมชนท่องเที่ยวเพื่อรองรับการศึกษาดูงานและการประชุม (CRT-3)

โครงการส่งเสริมพัฒนามาตรฐานชุมชนท่องเที่ยวในการรองรับการท่องเที่ยวแบบหมู่คณะ การศึกษาดูงาน และการประชุมสัญจร การพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยวในชุมชน การลงทุนเพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในการอำนวยความสะดวกให้กับการท่องเที่ยวแบบหมู่คณะ การศึกษาดูงาน และการประชุมสัญจร

งบประมาณ 10 ล้านบาท     ระยะเวลา 2 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย T3, T3.2, T4, T4.1

ผลลัพธ์

  1. ชุมชนท่องเที่ยวในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคเหนือ ในพื้นที่ NEC มีมาตรฐานที่สอดคล้องกับความต้องการของนักท่องเที่ยว
  2. คณะนักท่องเที่ยว คณะศึกษาดูงาน และคณะประชุมสัญจรที่เดินทางมายังชุมชนท่องเที่ยวในพื้นที่ NEC มีทางเลือกในการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น
  3. หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบหมู่คณะ การศึกษาดูงาน และการประชุมสัญจร มีแนวทางในการขับเคลื่อนและพัฒนา

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานจังหวัดเชียงราย
  2. 2. สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้า จังหวัดเชียงราย
  3. 3. สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย
  4. 4. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จังหวัดเชียงราย
  5. 5. องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย
  6. 6. หอการค้าจังหวัดเชียงราย
  7. 7. สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
  8. 8. อุทยานวิทยศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยลัยเชียงใหม่

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
  2. 2. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
  3. 3. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  4. 4. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

อุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร

โครงการที่ 1: ยกระดับการส่งออกแพะไปยังอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (CRA-1)

พัฒนาศักยภาพของเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชนในการส่งออกแพะสู่กลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ส่งเสริมให้เกษตรกรและผู้ประกอบการตลอดห่วงโซ่อุปทานดำเนินกิจกรรมได้อย่างมีมาตรฐานและคุณภาพในระดับการส่งออก ช่วยเหลือในการหาช่องทางทางการตลาดและการสร้างความร่วมมือทางการค้าในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

งบประมาณ 5 ล้านบาท     ระยะเวลา 2 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย A2, A2.3

ผลลัพธ์ 

เกษตรกรและวิสาหกิจชุมชนผู้เลี้ยงแพะในเขตระเบียงเศรษฐกิจภาคเหนือ (NEC) มีทักษะและแนวทางในการส่งออกแพะไปยังอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย
  2. 2. วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้เลี้ยงแพะ จังหวัดเชียงราย
  3. 3. ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดเชียงราย
  4. 4. สำนักงานการค้าภายในจังหวัดเชียงราย
  5. 5. สำนักงานเกษตรและสหกรณ์ จังหวัดเชียงราย

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงพาณิชย์
  2. 2. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  3. 3. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

 

โครงการที่ 2: ตลาดนัด Start-up สินค้าเกษตรปลอดภัย (CRA-2)

            จัดตั้งตลาดนัด Start-up สินค้าเกษตรปลอดภัย เพื่อเป็นพื้นที่สำหรับการแลกเปลี่ยน ซื้อขายรวมถึงการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ของ เกษตรกร ผู้ประกอบการ รวมถึง Start-Up ผู้ผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย เพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย ที่เป็นรูปแบบการเกษตรแนวใหม่ที่เป็นมิตรต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

งบประมาณ 4 ล้านบาท     ระยะเวลา 1 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย A3, A3.2, A3.3

ผลลัพธ์

  1. เกษตรกรผู้ผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยมีช่องทางในการจัดจำหน่ายและสร้างเครือข่ายความร่วมมือ
  2. Start-Up ผู้ผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย มีช่องทางในการจัดจำหน่าย และขยายตลาดให้กลุ่มลูกค้าสามารถเข้าถึงได้ง่ายขึ้น
  3. ประชาชนทั่วไปที่สนใจสินค้าเกษตรปลอดภัยมีทางเลือกเพิ่มขึ้นในการบริโภคสินค้าเกษตรปลอดภัย
  4. หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษาที่เกี่ยวข้องมีแนวทางการต่อยอด สนับสนุน และขับเคลื่อนสินค้าเกษตรปลอดภัย

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานจังหวัดเชียงราย
  2. 2. สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้า จังหวัดเชียงราย
  3. 3. สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย
  4. 4. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จังหวัดเชียงราย
  5. 5. หอการค้าจังหวัดเชียงราย
  6. 6. สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
  7. 7. อุทยานวิทยศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยลัยเชียงใหม่

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงพาณิชย์
  2. 2. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  3. 3. มหาวิทยาลัยในจังหวัด
  4. 4. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

 

โครงการที่ 3: เสริมสร้างทักษะสู่ความเป็นเกษตรกรอัจฉริยะ (CRA-3)

พัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีให้กับเกษตรกรเพื่อยกระดับสู่ความเป็นเกษตรกรอัจฉริยะ ส่งเสริมและให้ความช่วยเหลือแก่เกษตรกรและวิสาหกิจการเกษตรในการนำเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาช่วยในการเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิตในภาคเกษตรกรรม ช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตให้ได้คุณภาพและมาตรฐานที่สูงขึ้น

งบประมาณ 1,000,000 บาท     ระยะเวลา 1 ปี     ยุทธศาสตร์เป้าหมาย A3.1, A4, A4.2

ผลลัพธ์

เกษตรกรและวิสาหกิจการเกษตรในเขตระเบียงเศรษฐกิจภาคเหนือ (NEC) มีทักษะด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตและลดต้นทุนการผลิต

หน่วยงานผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด

  1. 1. สำนักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย

2 ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดเชียงราย

  1. 3. สำนักงานการค้าภายในจังหวัดเชียงราย
  2. 4. สำนักงานเกษตรและสหกรณ์ จังหวัดเชียงราย
  3. 5. หอการค้าจังหวัดเชียงราย
  4. 6. สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
  5. 7. อุทยานวิทยศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยลัยเชียงใหม่

หน่วยงานกำกับดูแลระดับประเทศ

  1. 1. กระทรวงพาณิชย์
  2. 2. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  3. 3. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม